1 ในบริษัทผู้ผลิตอุปกรณ์จัดเก็บข้อมูลแบบ DAS คุณภาพระดับโลกจากไต้หวัน อุปกรณ์จัดเก็บข้อมูลยี่ห้อ RAIDON จะให้ความสำคัญกับการใช้งานร่วมกับเครื่องคอมพิวเตอร์ประเภท PC, Industrial PC และ Server 

STARDOM เป็นอุปกรณ์จัดเก็บข้อมูลที่ถูกผลิตโดย RAIDON โดยเน้นและให้ความสำคัญกับอุปกรณ์จัดเก็บข้อมูลที่ใช้ Interface แบบ Thunderbolt เป็นหลักซึ่งจะแตกต่างจาก RAIDON

หากไม่นับ Interface แบบ Thuderbolt ทาง Proware ก็มีเกือบจะครบหมดทุก Interafce โดยเฉพาะ Storage แบบ NAS และ DAS ที่ใช้ Interface แบบ SAS และ Fibre Channel  

บริษัทที่อยู่เบื่องหลังความสำเร็จของอุปกรณ์ Storage หลากหลายยี่ห้อ Areca เป็น 1 ในไม่กี่บริษัทที่มีเทคโนโลยี RAID แบบ Hardware เป็นของตนเอง ทำให้มั่นใจได้ในคุณภาพและประสิทธิภาพของสินค้า

Innodisk เป็นผู้zผลิตสินค้าและเทคโนโลยีอุปกรณ์จัดเก็บข้อมูลแฟลช และ DRAM แบบฝัง (Embedded Flash and DRAM) โดยเน้นไปที่กลุ่มลูกค้าภาคธุรกิจ อุตสาหกรรมการบิน และ การป้องกัน

บริษัทที่อยู่เบื่องหลังความสำเร็จของอุปกรณ์ Storage หลากหลายยี่ห้อ Areca เป็น 1 ในไม่กี่บริษัทที่มีเทคโนโลยี RAID แบบ Hardware เป็นของตนเอง ทำให้มั่นใจได้ในคุณภาพและประสิทธิภาพของสินค้า

NNew Products
สินค้าใหม่

MR2-B31

2-Bay 2.5”SATA III HDD/SSD
Hardware RAID Storage

SR4-SB31+

4-Bay 2.5”/3.5” SATA III HDD/SSD
Hardware RAID 5 Storage

ST2-B31+

2-Bay 2.5”/3.5” SATA III HDD/SSD
Hardware RAID Storage

ST4-TL3+

4-Bay 2.5”/3.5” SATA III HDD/SSD
Hardware RAID Storage with 10Gbps Lan Port

iR2775-S3

1 floppy bay 2 x 2.5" HDD/SSD
Internal RAID Module

iR2023

1 CD-ROM bay 3 x 2.5" HDD/SSD
Internal RAID Storage

iR2622S

2 CD-ROM Bay 2 x 2.5"/3.5" HDD/SSD
Internal Storage Module

HHow to Select DATA STORAGE...
การเลือกซื้ออุปกรณ์จัดเก็บข้อมูล

โดยส่วนตัวผมไม่อยากจัดให้ SAN เป็นอุปกรณ์จัดเก็บข้อมูล แต่ควรเป็นเทคโนโลยีที่สามารถทำให้เพิ่มระยะทางการทำงานให้อุปกรณ์จัดเก็บข้อมูลประเภท DAS สามารถทำงานได้ในระยะที่ไกลขึ้นมากๆ เนื่องจากปกติอุปกรณ์จัดเก็บข้อมูลประเภท DAS เช่น USB จะมีความยาวของสายค่อนข้างสั้นทำให้เหมาะกับการใช้งานส่วนตัวมากกว่าการนำมาใช้งานในระดับองค์กร แต่มีอุปกรณ์จัดเก็บข้อมูลประเภท DAS ที่ใช้ Interface แบบ Fibre ที่สามารถมีระยะการเชื่อมต่อของสายสัญญาณที่ยาวมากๆได้ เมื่อเราต้องการนำเอาอุปกรณ์จัดเก็บข้อมูลแบบ Fibre มาใช้งานพร้อมๆกันหลายๆเครื่องก็เลยจำเป็นที่จะต้องมี Fibre Switch เข้ามาเกี่ยวข้องซึ่งก็จะทำให้เกิดรูปแบบใหม่ของการสร้างกลุ่มอุปกรณ์จัดเก็บข้อมูลขึ้นมาซึ่งเราเรียกรูปแบบการทำงานลักษณะนี้ว่า SAN
แต่นอกจากอุปกรณ์จัดเก็บข้อมูลแบบ Fibre แล้วเรายังสามารถสร้างระบบ SAN บนโปรโตคอล iSCSI ได้อีกด้วยซึ่'เราเรียกระบบ SAN แบบนี้ว่า IP SAN และเนื่องจากโปรโตคอลแบบ iSCSI นี้เป็นโปรโตคอลที่มีอยู่ในอุปกรณ์จัดเก็บข้อมูลประเภท NAS นั่นหมายความว่าอุปกรณ์จัดเก็บข้อมูลประเภท NAS จะสามารถถูกนำมาใช้งานได้ใน 2 รูปแบบ คือ ทั้งแบบ NAS และ SAN ซึ่งตรงจุดนี้เองที่ทำให้หลายๆครั้งเรามักจะสับสนกันว่าSAN คืออะไร? และ NAS กับ SAN ต่างกันยังอย่างไ?  

DDATA STORAGE
อุปกรณ์จัดเก็บข้อมูล

Data Storage

Data Storage เป็นอุปกรณ์จัดเก็บข้อมูลสามารถแบ่งตามรูปแบบการใช้งานออกได้เป็น 2 ประเภท คือ

  • DAS (Direct Attached Storage) เป็นอุปกรณ์จัดเก็บข้อมูลที่ใช้การต่อสายนำสัญญาณเข้ากับเครื่องคอมพิวเตอร์โดยตรง Interfacce ที่ใช้กับอุปกรณ์ชนิดนี้ได้แก่ USB, eSATA, Firewire, Thunderbolt, SAS, Fibre เป็นต้น
  • NAS (Network Attached Storage) เป็นอุปกรณ์จัดเก็บข้อมูลที่ใช้การต่อผ่านระบบเครือข่ายเหมาะสำหรับการแบ่งปันข้อมูลเพื่อการใช้งานเป็นกลุ่ม

SAN (Storage Area Network)

โดยส่วนตัวผมไม่อยากจัดให้ SAN เป็นอุปกรณ์จัดเก็บข้อมูล แต่ควรเป็นเทคโนโลยีที่สามารถทำให้เพิ่มระยะทางการทำงานให้อุปกรณ์จัดเก็บข้อมูลประเภท DAS สามารถทำงานได้ในระยะที่ไกลขึ้นมากๆ เนื่องจากปกติอุปกรณ์จัดเก็บข้อมูลประเภท DAS เช่น USB จะมีความยาวของสายค่อนข้างสั้นทำให้เหมาะกับการใช้งานส่วนตัวมากกว่าการนำมาใช้งานในระดับองค์กร แต่มีอุปกรณ์จัดเก็บข้อมูลประเภท DAS ที่ใช้ Interface แบบ Fibre ที่สามารถมีระยะการเชื่อมต่อของสายสัญญาณที่ยาวมากๆได้ เมื่อเราต้องการนำเอาอุปกรณ์จัดเก็บข้อมูลแบบ Fibre มาใช้งานพร้อมๆกันหลายๆเครื่องก็เลยจำเป็นที่จะต้องมี Fibre Switch เข้ามาเกี่ยวข้องซึ่งก็จะทำให้เกิดรูปแบบใหม่ของการสร้างกลุ่มอุปกรณ์จัดเก็บข้อมูลขึ้นมาซึ่งเราเรียกรูปแบบการทำงานลักษณะนี้ว่า SAN
แต่นอกจากอุปกรณ์จัดเก็บข้อมูลแบบ Fibre แล้วเรายังสามารถสร้างระบบ SAN บนโปรโตคอล iSCSI ได้อีกด้วยซึ่'เราเรียกระบบ SAN แบบนี้ว่า IP SAN และเนื่องจากโปรโตคอลแบบ iSCSI นี้เป็นโปรโตคอลที่มีอยู่ในอุปกรณ์จัดเก็บข้อมูลประเภท NAS นั่นหมายความว่าอุปกรณ์จัดเก็บข้อมูลประเภท NAS จะสามารถถูกนำมาใช้งานได้ใน 2 รูปแบบ คือ ทั้งแบบ NAS และ SAN ซึ่งตรงจุดนี้เองที่ทำให้หลายๆครั้งเรามักจะสับสนกันว่าSAN คืออะไร? และ NAS กับ SAN ต่างกันยังอย่างไ?  

หมายเหตุ: ผมเองก็สับสนกับเรื่องนี้มานานเหมือนกันจนกระทั่งมีโอกาสได้สัมผัสกับอุปกรณ์ Data Storage มากขึ้นเรื่อยๆก็เลยพยายามสรุปความหมายของคำว่า SAN ออกมาตามความเข้าใจของตนเองดังที่แสดงอยู่ในข้อความข้างต้น หากท่านใดมีข้อแนะนำเกี่ยวกับเรื่องง SAN และพอที่จะมีเวลาส่งข้อมูลมาแบ่งปันกันได้จะขอบพระคุณยิ่ง

RRAID | JBOD | BIG

RAID คืออะไร?

RAID ย่อมาจาก Redundant Array of Independent Disks เป็นเทคโนโลยีในการนำ Hard Disk หลายๆลูกมาทำงานร่วมกันเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพให้กับระบบการจัดเก็บข้อมูล 

JBOD คืออะไร?

JBOD ย่อมาจาก Just a Bunch of Disks เป็นการนำ HDD หลายๆลูกมาติดตั้งไว้ในเครื่องเดียวกันแต่แยกกการทำงานออกจากกันโดยอิสระ และ Drive Letter (C, D, E...) เป็นของตัวเอง

BIG คืออะไร?

BIG MODE มีลักษณะการทำงานคล้ายกับ RAID0 แต่ไม่มีผลให้มีความเร็วในการทำงานที่เร็วขึ้นแต่อย่างใด โดยมีผลเพียงแค่ช่วยรวมพื้นที่ HDD เข้ามาเป็นพื้นที่เดียวกันที่มีขนาดใหญ่ขึ้นเท่นั้น

RAIDHDD ขั้นต่ำความเร็วพื้นที่ความปลอดภัย
RAID02เพิ่มขึ้นทั้งการเขียนและการอ่านขนาดพื้นที่ของ HDD ทั้งหมดรวมกันค่อนข้างต่ำเพราะถ้าหากมี HDD เสียแม้เพียงลูกเดียวไม่ว่าจะเป็นลูกใดก็ตามข้อมูลที่มีอยู่จะสูญหายทั้งหมด
RAID12เพิ่มขึ้นเฉพาะการอ่าน (ข้อมูล 1 ชุดต้องเขียน 2 ครั้ง คือ เขียนต้นฉบับและสำเนา / Double Job) ขนาดพื้นที่ของ HDD ทั้งหมดรวมกัน / 2ดีกว่า RAID0 เพราะจะต้องมี HDD อย่างน้อย 1 คู่ (2 ลูก) ที่มีข้อมูลเหมือนกันเสียพร้อมกันข้อมูลที่มีอยู่จึงจะสูญหาย
RAID104เพิ่มขึ้นทั้งการเขียนและการอ่านขนาดพื้นที่ของ HDD ทั้งหมดรวมกัน / 2ความเสียหายจะเกิดขึ้นต่อเมื่อมี HDD อย่างน้อย 1 คู่ (2 ลูก) ที่มีข้อมูลเหมือนกันเสียพร้อมกัน
RAID53เพิ่มขึ้นทั้งการเขียนและการอ่านขนาดพื้นที่ของ HDD ทั้งหมดรวมกัน - ขนาดพื้นที่ของ HDD 1 ลูกระบบยอมให้มี HDD เสียได้ 1 ลูก
RAID64เพิ่มขึ้นทั้งการเขียนและการอ่านขนาดพื้นที่ของ HDD ทั้งหมดรวมกัน - ขนาดพื้นที่ของ HDD 2 ลูกระบบยอมให้มี HDD เสียได้ 2 ลูก

HHOT SWAP

ในกรณีที่ในระบบ Data Storage ของเรามี Hard Disk ตัวใดตัวหนึ่งเสียเราสามารถถอดเปลี่ยน Hard Disk ตัวนั้นได้โดยไม่จำเป็นต้องปิดเครื่องเราเรียกการทำงานลักษณะนี้ว่า Hot Swap ซึ่งมีความจำเป็นอย่างมากสำหรับการใช้งาน Data Storage ทำให้การใช้งาน Data Storage ไม่เกิดการสะดุดหรือติดขัดทำให้เราสามารถใช้งาน Data Storage ได้อย่างต่อเนื่อง นอกจากนี้คำว่า Hot Swap ไม่ได้จำกัดอยู่แต่เรื่องของเปลี่ยน HDD เท่านั้นแต่ยังหมายความรวมถึงอุปกรณ์ทุกชิ้นที่สามารถถอดเปลี่ยนได้โดยไม่จำเป็นต้องปิดเครื่อง เช่น Power Supply เป็นต้น และเนื่องจาก Data Storage เป็นอุปกรณ์ที่มีความสำคัญมากเป็นลำดับต้นๆของการใช้งานระบบคอมพิวเตอร์ ดังนั้นจึงไม่ควรมีการเปิดปิดบ่อยๆก็ยิ่งทำให้ Hot Swap เป็น Function ที่จำเป็นอย่างยิ่ง

PPOWER REDUNDANT

Storage เป็นอุปกรณ์ที่มักจะถูกเปิดทิ้งไว้เพื่อใช้งานตลอดเวลา นอกจาก HDD แล้วอุปกรณ์อีกส่วนหนึ่งที่มีความสำคัญไม่น้อยไปกว่ากันและสามารถเพิ่มเติมฟังก์ชั่นการทำงานพิเศษเพื่อให้สามารถใช้งานได้อย่างต่อเนื่องก็คือ Power Supply ในความเป็นจริงเราสามารถติดตั้ง Power Supply ให้กับ Storage ได้มากกว่า 1 ตัว โดยที่ Power Supply ตัวหนึ่งจะทำหน้าที่เป็น Power Supply หลักในการทำงานร่วมกับ Storage ส่วน Power Supply ตัวที่เหลือจะทำงานอยู่ในโหมด Stand By เพื่อรอพร้อมทำงานแทน Power Supply หลักตลอดเวลาหาก Power Supply หลักมีปัญหา ดังนั้นในการเลือกซื้อ Storage ควรคำนึงถึงการทำงานของ Power Supply ด้วยว่าเป็นแบบ Redundant หรือไม่ 

HHard Disk Drive (HDD)

ในกรณีที่ในระบบ Data Storage ของเรามี Hard Disk ตัวใดตัวหนึ่งเสียเราสามารถถอดเปลี่ยน Hard Disk ตัวนั้นได้โดยไม่จำเป็นต้องปิดเครื่องเราเรียกการทำงานลักษณะนี้ว่า Hot Swap ซึ่งมีความจำเป็นอย่างมากสำหรับการใช้งาน Data Storage ทำให้การใช้งาน Data Storage ไม่เกิดการสะดุดหรือติดขัดทำให้เราสามารถใช้งาน Data Storage ได้อย่างต่อเนื่อง นอกจากนี้คำว่า Hot Swap ไม่ได้จำกัดอยู่แต่เรื่องของเปลี่ยน HDD เท่านั้นแต่ยังหมายความรวมถึงอุปกรณ์ทุกชิ้นที่สามารถถอดเปลี่ยนได้โดยไม่จำเป็นต้องปิดเครื่อง เช่น Power Supply เป็นต้น และเนื่องจาก Data Storage เป็นอุปกรณ์ที่มีความสำคัญมากเป็นลำดับต้นๆของการใช้งานระบบคอมพิวเตอร์ ดังนั้นจึงไม่ควรมีการเปิดปิดบ่อยๆก็ยิ่งทำให้ Hot Swap เป็น Function ที่จำเป็นอย่างยิ่ง

SSolid State Drive (SSD)

Storage เป็นอุปกรณ์ที่มักจะถูกเปิดทิ้งไว้เพื่อใช้งานตลอดเวลา นอกจาก HDD แล้วอุปกรณ์อีกส่วนหนึ่งที่มีความสำคัญไม่น้อยไปกว่ากันและสามารถเพิ่มเติมฟังก์ชั่นการทำงานพิเศษเพื่อให้สามารถใช้งานได้อย่างต่อเนื่องก็คือ Power Supply ในความเป็นจริงเราสามารถติดตั้ง Power Supply ให้กับ Storage ได้มากกว่า 1 ตัว โดยที่ Power Supply ตัวหนึ่งจะทำหน้าที่เป็น Power Supply หลักในการทำงานร่วมกับ Storage ส่วน Power Supply ตัวที่เหลือจะทำงานอยู่ในโหมด Stand By เพื่อรอพร้อมทำงานแทน Power Supply หลักตลอดเวลาหาก Power Supply หลักมีปัญหา ดังนั้นในการเลือกซื้อ Storage ควรคำนึงถึงการทำงานของ Power Supply ด้วยว่าเป็นแบบ Redundant หรือไม่ 

IInterface

Storage ในทุกวันนี้มีการเชื่อมต่ออยู่หลายรูปแบบโดยเฉพาะ Storage ประเภทต่อตรงหรือที่เรียกว่า DAS (Direct Attached Storage) ลักษณะหรือหัวต่อเหล่านี้เราเรียกันว่า Interface เช่่น USB, eSATA, Firewire, Thunderbolt, SAS และ Fibre เป็นต้น โดยที่ Interface แต่ละประเภทก็จะมีรูปร่างลักษณะและความสามารถในการทำงานที่แตกต่างกันไปซึ่งก็จะมีผลต่อคุณภาพและราคาของ Storage แต่ละตัวด้วย 

USB

เป็น Interface mี่พบเจอกันได้ง่ายและบ่อยที่สุด ความเร็วในการรับส่งข้อมูลขึ้นอยู่กับ Version ของ  USB ที่นำมาใช้ตามตัวอย่างที่แสดงอยู่ในภาพด้านล่าง

eSATA

เป็น Interface ที่ยังคงพบเห็นอยู่บ้างแต่ไม่ค่อยบ่อยนักเนื่องจากมีความเร็วในการรับส่งข้อมูลที่ค่อนข้างต่ำเมื่อเทียบกับ Interface ประเภทอื่น

firewire

เป็น Interface ที่ยังคงพบเห็นอยู่บ้างแต่ไม่ค่อยบ่อยนักเนื่องจากมีความเร็วในการรับส่งข้อมูลที่ค่อนข้างต่ำเมื่อเทียบกับ Interface ประเภทอื่น

thunderbolt

เป็น Interface ที่มีพัฒนาการอยู่อย่างต่อเนื่องเหมือน USB แต่มักพบบ่อยอยู่ในอุปกรณ์ของ Apple มีความเร็วในการรับส่งข้อมูลที่สูงมาก

sas

เป็น Interface ที่พบบ่อยในอุปกรณ์ Storage ขนาดใหญ่โดยเฉพาะในอุปกรณ์ที่เป็นส่วนต่อขยายพื้นที่หรือที่เรีกว่า JBOD 

firebre Channel

เป็น Interface ที่พบบ่อยในอุปกรณ์ Storage ขนาดใหญ่  มีความเร็วในการรับส่งข้อมูลค่อนข้างสูงแต่เนื่องจากมีราคาที่ค่อนข้างสูงจึงไม่ค่อยเป็นที่นิยมมากนัก

SSpeed Comparison

USB vs thunderbolt

sas

firebre Channel